999arch คาสิโนออนไลน์ เครดิตฟรี สล็อตออนไลน์ เครดิตโบนัสได้เงินจริง slot938 สล็อต สล็อตออนไลน์ thaicasinobin แจกเครดิตฟรี สล็อต บาคาร่า คาสิโนออนไลน์ JQK41 สล็อต เครดิตฟรี ไทยคาสิโนออนไลน์ thaibet55 kubet ไทยคาสิโนออนไลน์ แทงบอล ซอคเกอร์ลีก คะแนนฟุตบอล เว็บพนันอันดับ1 HUC99 เว็บตรง ไม่ผ่านเอเย่นต์ ขอเครดิตฟรีหน่อยครับสมัครปุ๊บรับปั๊บไม่ต้องฝาก
อำนาจหน้าที่ – ColorMag

อำนาจหน้าที่

บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 

1. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน  

1) พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2545  

2) พรบ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ มาตรา 38 (กรรมการสถานศึกษา)  มาตรา 39 (อำนาจหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา)  

3) กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา  พ.ศ. 2547 (ออกตาม ม.34 วรรคสี่ ของ พรบ.บริหารศธ.)  

4) กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและจัดการศึกษา  (ออกตาม ม.39 วรรคสอง พรบ.กศ แห่งชาติ 2542)  

5) ระเบียบ ศธ.ว่าด้วยการบริหารจัดการและขอบเขตการปฏิบัติหน้าที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน  ที่เป็นนิติบุคคลในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2546 (ออกตาม ม.35 พรบ.บริหาร ศธ.)  6) กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์วิธีการสรรหากรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน พ.ศ. 2546  

7) ระเบียบ กฎหมายอื่น ๆ  

2. บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาตามเจตนารมณ์ของ พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 1) จัดทำนโยบายแผนพัฒนาการศึกษาด้านวิชาการ บุคคล งบประมาณ บริหารทั่วไป  2) จัดตั้ง/รับผิดชอบการใช้จ่ายงบประมาณ  

3) พัฒนาหลักสูตร /จัดการเรียนการสอน  

4) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ แนวปฏิบัติ  

5) กำกับ ติดตามประเมินผลตามแผนงานโครงการ  

6) ระดมทรัพยากร ปกครอง ดูแลบำรุงรักษาทรัพย์สินฯ  

7) จัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา  

8) ส่งเสริมความเข้มแข็งชุมชน สร้างความสัมพันธ์ 

บทบาท หน้าที่ของผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 

1. บทบาทหน้าที่ตามพรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ มาตรา 37 วรรค 2 ได้ กำหนดอำนาจหน้าที่ของผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้  

1) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในเขตพื้นที่การศึกษา  

2) รับผิดชอบ ในการปฏิบัติราชการของสำนักงานให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และ แผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง  

3) ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายอื่น ในกรณีที่มีกฎหมายอื่นกำหนดอำนาจหน้าที่ของ 

ผู้อำนวยการไว้เป็นการเฉพาะการใช้อำนาจ และการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายดังกล่าวให้คำนึงถึง นโยบาย ที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติแนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงด้วย  

2. บทบาทหน้าที่ตามพรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มาตรา ๒๔ ของ พรบ. ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กำหนดให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็น ผู้บริหารราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาใน เขตพื้นที่การศึกษา และมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้  

1) รับผิดชอบในการปฏิบัติงานราชการที่เป็นอำนาจและหน้าที่ของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษา และตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามอบหมาย  

2) เสนอแนะการบรรจุและแต่งตั้ง และการบริหารงานบุคคลในเรื่องอื่นที่อยู่ในอำนาจและ หน้าที่ของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา  

3) พิจารณาเสนอความดีความชอบของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาในหน่วยงาน การศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา และข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา  

4) จัดทำแผนและส่งเสริมการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในหน่วยงาน การศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา  

5) จัดทำทะเบียนประวัติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา  6) จัดทำมาตรฐานคุณภาพงาน กำหนดภาระงานขั้นต่ำ และเกณฑ์การประเมินผลงาน สำหรับ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา  7) ประเมินคุณภาพการบริหารงานบุคคลและจัดทำรายงานการบริหารงานบุคคลเสนอ อ. ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาเพื่อเสนอ ก.ค.ศ. ต่อไป  

8) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือตามที่ ก.ค.ศ.  มอบหมาย  

3. หน้าที่เป็นคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ เลขานุการในคณะกรรมการต่าง ๆ  4. อำนาจหน้าที่ตามที่ได้มอบอำนาจ(คำสั่งให้ปฏิบัติราชการแทน) และตามกฎหมายอื่น 

บทบาทหน้าที่ของผู้อำนวยการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 

1. อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาตาม พรบ. การศึกษาแห่งชาติ  

1) จัดรูปแบบการศึกษา ม.15  

2) จัดกระบวนการศึกษา ม. 24-30  

3) บริหารจัดการศึกษา 4 ด้าน ม. 39  

4) เป็นคณะกรรมการสถานศึกษา ม. 40  

5) จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา ม. 48-50  

6) ปกครองดูแลบำรุงรักษาทรัพย์สินฯ ม. 59  

7) พัฒนาบุคลากร นักเรียนด้านเทคโนโลยีฯ ม. 65-66  

2. อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาตาม พรบ.การศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545  1) ผ่อนผันการส่งเด็กเข้าเรียน ม.6  

2) เป็นเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่  

3) จัดการศึกษาเด็กบกพร่อง พิการ ด้อยโอกาสในรูปแบบเหมาะสม ม.12  4) ดำเนินการอื่นๆ ตามกฎหมายกำหนด  

3. อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาตาม พรบ.ระเบียบบริหาร ศธ. 2546 (ม.39)  1) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการครู และ บุคลากรในสถานศึกษา  

2) บริหารกิจการสถานศึกษา  

3) ประสานระดมทรัพยากร  

4) เป็นผู้แทนสถานศึกษา  

5) จัดทำรายงานประจำปีต่อ กก.เขตพื้นที่  

6) อนุมัติประกาศนียบัตร วุฒิบัตร  

7) อื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชาทุกระดับมอบหมาย  

8) ตามที่ได้รับการกระจาย มอบอำนาจ(ปฏิบัติราชการแทน) ม.44-45  

– ปลัดศธ. เลขาฯ ถึง ผอ.สถานศึกษา  

– ผอ.สำนักฯในกรม ถึง ผอ.สถานศึกษา  

– ผอ.สพท. ถึง ผอ.สถานศึกษา  

4. อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาตามกฎ ศธ. แบ่งส่วนราชการในสถานศึกษา 2546  1) วิเคราะห์ จัดทำนโยบาย แผนสถานศึกษา  

2) วางระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับ  

3) เสนอขอจัดตั้งเงินอุดหนุนทั่วไป  

4) แต่งตั้งอนุกรรมการ คณะทำงานต่าง ๆ  

5. อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาตาม พรบ.รบ.ครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547  1) ควบคุมดูแลการบริหารงานบุคคล ม.27(1) 

2) พิจารณาความดีความชอบ ม.27(2)  

3) ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาบุคลากร ม.27(3)  

4) จัดทำมาตรฐานภาระงานครู ม.27(4)  

5) ประเมินผลการปฏิบัติงานครู ม.27(5)  

6) ปฏิบัติหน้าที่ตาม อ.ก.ค.ศ. กก.รร.มอบหมาย ม.27(6)  

7) สั่งให้ครูฯออกจากราชการกรณีขาดคุณสมบัติ ม.49  

8) สั่งบรรจุแต่งตั้งครูผู้ช่วย ครู บุคลากร ม.53(4)  

9) สั่งครูที่ทดลองปฏิบัติราชการออก ม.56 วรรคสอง  

10) สั่งให้ครูพ้นทดลองทำงานต่อไป ม.56 วรรคสอง  

11) สั่งครูที่ออกไปแล้วกลับเข้ามาตาม มติ อ.ก.ค.ศ ม.64  

12) สั่งให้ครูรักษาการในตำแหน่ง (ตำแหน่งว่าง) ม.68  

13) สั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการครู ม.73  

14) ยกย่องเชิดชูเกียรติครูดีเด่น ม.75  

15) แจ้งภาระงาน เกณฑ์ประเมินผลงาน มาตรฐานวิชาชีพจรรยาบรรณวิชาชีพ  

ระเบียบแบบแผนฯ ม.78  

16) ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ม.79  

17) ส่งเสริมสนับสนุนให้ไปศึกษาดูงาน ม.81  

18) รักษาวินัยอย่างเคร่งครัด ม.82  

19) เสริมสร้างพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา ม.95 98  

20) อนุญาต ยับยั้งอนุญาตลาออก ม.108  

21) สั่งแต่งตั้งกก.สอบสวนกรณีกล่าวหาไม่เลื่อมใสปกครองฯ ม.110 (4)  

22) สั่งให้ครูออกจากราชการ ในกรณีต่างๆ เช่น เจ็บป่วย ยุบตำแหน่ง ไร้ประสิทธิภาพ จำคุก  6. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการบริหารจัดการและขอบเขตการปฏิบัติหน้าที่ของสถานศึกษา ขั้น พื้นฐานที่เป็นนิติบุคคลสังกัด สพท. พ.ศ.2546 กำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ดังนี้  1) ผู้อำนวยการฯเป็นผู้แทนของนิติบุคคลสถานศึกษา  

2) นิติบุคคลสถานศึกษาถูกฟ้องร้อง ให้รายงาน สพท. แจ้งสพฐ.แต่งตั้งผู้รับผิดชอบดำเนินคดี  3) การบริหารบุคคลตามกฎหมาย พรบ.ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา  4) ยุบ รวม เลิกล้มรร. สพท.ตรวจสอบบัญชี ทรัพย์สิน โอน จำหน่ายตามหลักเกณฑ์ สพฐ.กำหนด  5) รร.มีอำนาจปกครอง ดูแล บำรุง รักษา ใช้ จัดหา ผลประโยชน์จากทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ แต่ จำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ กก.รร.ต้องเห็นชอบ รายงานสพท.  

6) รร.มีอิสระในการบริหารจัดการงบประมาณ พัสดุตามวงเงิน อำนาจที่เลขา กพฐ.มอบ หรือ ผอ. สพท.มอบตามหลักเกณฑ์ที่สพฐ.กำหนดยกเว้นเงินเดือน 

7) จัดทำระบบการเงิน บัญชี ตามรบสพฐ.กำหนด และทรัพย์สินฯผู้อุทิศทำหลักฐานการรับ บัญชีรับ จ่ายฯรายงาน ผอ.สพท.ทุกสิ้นปีงบประมาณ ผอ.สพท.ตรวจสอบและรายงานเลขา กพฐ. โดยเร็ว  7. อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาตามระเบียบ กฎหมายอื่น เช่น  

– รบ.ศธ.ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนนักศึกษา พ.ศ.2548  

– กฎกระทรวง ว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนนักศึกษา  

– รบ.ศธ.ว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความประพฤตินักเรียนฯ พ.ศ.2548  – รบ.ศธ.ว่าด้วยการกำหนดเวลาทำงานและวันหยุดราชการของสถานศึกษา พ.ศ.2547  – รบ.ศธ.ว่าด้วยการชักธงชาติในสถานศึกษา พ.ศ.2547  

– รบ.ศธ.ว่าด้วยการตั้งชื่อสถานศึกษา พ.ศ.2547  

– รบ.ศธ. ว่าด้วยการขอบคุณหรืออนุโมทนา พ.ศ. 2547  

– รบ.ศธ. ว่าด้วยการแก้ไขวันเดือนปีเกิดของนักเรียนนักศึกษา 2547  

– รบ.ศธ. ว่าด้วยใบสุทธิและหนังสือรับรองของสถานศึกษา พ.ศ.2547  

– รบ.ศธ. ว่าด้วยการยกเลิกเงินบำรุงการศึกษา พ.ศ.2534 พ.ศ.2547 

– รบ.ศธ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการไปศึกษา ฝึกอบรมฯ(ฉ.2) พ.ศ.2547 

บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 

1. อำนาจหน้าที่ตาม พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ มาตราที่ 38 ของ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการกำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ สถานศึกษา ให้กำกับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับ มาตรา 40 ของ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545  

2. อำนาจหน้าที่ตาม พรบ.ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มาตราที่ 26 ของพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้กำหนดอำนาจหน้าที่จของคณะกรรมการสถานศึกษา  เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล สำหรับข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา ดังต่อไปนี้  

1) กำกับ ดูแลบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ ก.ค.ศ.และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษากำหนด  

2) เสนอความคิดต้องการจำนวนและอัตราตำแหน่งของข้าราชการครูและบุคลากรทางศึกษา ในสถานศึกษาเพื่อเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาพิจารณา  

3) ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคากรทางการศึกษา ในสถานศึกษาต่อผู้บริหารสถานศึกษา  

4) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือตามที่ อ.ก.ค.ศ.  เขตพื้นที่การศึกษามอบหมาย